7 ประโยชน์ของการหัวเราะ ส่งผลดีต่อสุขภาพอย่างไร

7 ประโยชน์ของการหัวเราะ ส่งผลดีต่อสุขภาพอย่างไร
ให้เราเลือกประกันที่เหมาะสมกับคุณผ่านไลน์ ปรึกษาผ่าน LINE

การหัวเราะเป็นสิ่งที่เราสามารถทำได้ง่ายๆ และมีประโยชน์ที่สำคัญต่อสุขภาพทั้งร่างกายและจิตใจ และเราควรหาสาเหตุในชีวิตที่จะทำให้เราหัวเราะอย่างสุขภาพดีในทุกๆ วัน มาดูกันว่าการหัวเราะมีประโยชน์กับเราอย่างไรบ้างนะครับ

  1. เมื่อหัวเราะร่างกายจะรู้สึกผ่อนคลาย ช่วยลดอาการเจ็บปวดได้
  2. แก้ซึมเศร้า การหัวเราะช่วยให้ร่างกายหลั่งสารสื่อประสาทอย่างเซโรโทนินและโดพามีนเพิ่มมากขึ้น ทำให้จิตใจสงบ ผ่อนคลาย
  3. การหัวเราะทำให้ร่างกายมีภูมิคุ้มกันเพิ่มขึ้น ช่วยป้องกันการติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ เช่น ไข้หวัดได้
  4. ลดน้ำหนัก การหัวเราะ 30 วินาที – 5 นาที 10 ครั้ง ต่อวัน จะช่วยให้ความอยากอาหารลดลง มีผลให้การควบคุมน้ำหนักดีขึ้น
  5. บริหารหัวใจ หัวเราะเพียง 15-20 นาที ช่วยให้หัวใจได้ออกกำลังกาย เป็นการบริหารหัวใจง่ายๆ ที่เหมาะกับผู้สูงอายุที่นอนอยู่บนเตียงและเคลื่อนไหวไม่ได้มากนัก
  6. ช่วยบริหารกล้ามเนื้อ การหัวเราะจะช่วยให้กล้ามเนื้อบนใบหน้า และกล้ามเนื้อบริเวณร่างกายได้ออกกำลังไปในตัว
  7. บริหารปอด การหัวเราะช่วยหมุนเวียนอากาศในปอด ทำให้ปอดสามารถขับอากาศเสีย และรับออกซิเจนเข้าปอดได้อย่างเต็มที่

ข้อมูลจาก :: กรมสุขภาพจิต

ขอโฆษณาหน่อยนะ

ประกันสุขภาพ BDMS ดีอย่างไร

  • วงเงินรักษาสูงสุด 5 ล้านบาท
  • ไม่บอกเลิกสัญญาแม้จะเคลมเยอะ
  • ค่าใช้จ่ายในการรักษา จ่ายตามจริง
  • โรงพยาบาลกรุงเทพและในเครือ BDMS ประเทศไทย
  • ค่าเบี้ยคงที่ตามช่วงอายุ
  • ไม่เคลมมีเงินคืนสูงสุด 10%
สำหรับท่านใดที่สนใจอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม ประกันสุขภาพ BDMS

ผลิตภัณฑ์ประกันแนะนำ

ประกันสุขภาพ

ประกันสุขภาพ My Care Easy Health

ค่าเบี้ยเริ่มต้น 9,378 บาท ต่อปี

  • คุ้มครองสูงสุด: 5,000,000 บาท/ปี
  • ผู้ป่วยใน: เหมาจ่ายตามจริง
  • ผู้ป่วยนอก: –
  • ค่าห้อง : ห้องพักเดี่ยวมาตรฐาน
ดูรายละเอียด
ประกันสุขภาพ

ประกันสุขภาพ My Care Prestige

ค่าเบี้ยเริ่มต้น 18,611 บาท ต่อปี

  • คุ้มครองสูงสุด: 100,000,000 บาท/ปี
  • ผู้ป่วยใน: เหมาจ่ายตามจริง
  • ผู้ป่วยนอก: ซื้อเพิ่มได้
  • ค่าห้องสูงสุด: 25,000 บาท
ดูรายละเอียด
ประกันสุขภาพ

ประกันสุขภาพ My Care Saver

ค่าเบี้ยเริ่มต้น 5,940 บาท ต่อปี

  • คุ้มครองสูงสุด: 300,000 บาท/ปี
  • ผู้ป่วยใน: ไม่เกิน 50,000 บาท/ต่อครั้ง
  • ผู้ป่วยนอก: –
  • ค่าห้องสูงสุด : ตามจริง
ดูรายละเอียด
แชร์บทความนี้